ส่งเสริมคนดีให้ได้ปกครองบ้านเมือง

ข่าวจากสื่อ

บทความจากสื่อ

Monday, 8 October 2012

คลิปงาน36ปี6ตุลา2519

ที่มา Thai E-News

 รูปภาพ : ชมคลิป เสวนา 6 ตุลากับทิศทางการเมืองไทย และสัปดาห์รำลึก 36 ปี 6 ตุลา และ 6-10-2012

ปาฐกถาพิเศษ ณ หอประชุมศรีบูรพา 6 ตุลา 2519 กับอุดมการณ์คนรุ่นหลัง  โดย ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
http://youtu.be/ZdHo3Quw09s

เสวนา 6 ตุลา กับทิศทางการเมืองไทย 6-10-55/1 
http://youtu.be/YvPQzVSwpZU

เสวนา 6 ตุลา กับทิศทางการเมืองไทย 6-10-55/2 
http://youtu.be/pzxKeK4iDK0

เสวนา 6 ตุลา กับทิศทางการเมืองไทย 6-10-55/3 
http://youtu.be/rloaFsftagg

กิจกรรมละครใบ้ และบทกวี งานสัปดาห์รำลึก 36 ปี 6 ตุลา ประชาธิปไตยประชาชน ณ หอประชุมศรีบูรพา 
http://youtu.be/xNuYrwbbh3c

งานสัปดาห์รำลึก 36 ปี 6 ตุลา 6-10-55/1
http://youtu.be/SsovgSeKsBk

งานสัปดาห์รำลึก 36 ปี 6 ตุลา 6-10-55/2 
http://youtu.be/jN-MqhBlJOM


เสวนา 6 ตุลากับทิศทางการเมืองไทย ณ หอประชุมศรีบูรพา โดยกรรมการรับข้อมูลสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลา ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ,ปณิธาน พฤกษาเกษมสุข ,พัชณีย์ คำหนัก ,องค์กรเลี้ยวซ้าย ,
ตัวแทนองค์กรนักศึกษามหาวิทยลัย ธรรมศาสตร์ ดำเนินรายการโดย ใบตองแห้ง

......................

วงเสวนา"6 ตุลากับทิศทางการเมืองไทย" ถกเข้มว่าด้วยเรื่อง ภาพติดตา6ตุลาฯ - ชายชุดดำ -เพื่อไทย 

http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1349510972&grpid=01&catid=&subcatid=


"สุธาชัย" ชี้สังคมไทยเชื่อนิยาย "ชายชุดดำ" มากกว่าสำรวจข้อเท็จจริง
 
 
นายสุธาชัย ยิ้มประเสริฐ รองศาสตรจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าวถึงแนวคิดกลุ่มชายชุดดำที่อยู่ปะปนกับกลุ่มคนเสื้อแดงในวันที่ 10 เมษายน 2553 ว่า สังคมไทยชอบเชื่อสิ่งที่เป็นนิยายคือเรื่องจริง เช่นกรณีชายชุดดำปรากฎตัวครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 เมษายน แล้วรัฐบาลสมัยอภิสิทธิ์ก็บอกว่า ชายชุดดำเป็นผู้ก่อเหตุรุนแรงก่อน ปรากฎตัวตามจุดต่าง ๆ ปะปนอยู่กับผู้ชุมนุมเสื้อแดงมากมาย มีบทบาทสำคัญที่สุดในเหตุการณ์ความวุ่นวายช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ปี 2553 แต่ไม่พบหลักฐานใด ๆ ที่เห็นชายชุดดำในจุดอื่น ๆ เลย


นอกจากนี้ก่อนที่ฝ่ายพรรคประชาธิปัตย์จะสร้างตัวละครชายชุดดำเป็นผู้สังหารกลุ่มผู้ชุมนุมเสื้อแดงนายสุเทพเทือกสุบรรณก็เคยบอกว่า การตายของกลุ่มคนเสื้อแดง 91 ศพที่ชุมนุมประท้วงรัฐบาลนายอภิสิทธิ์เมื่อเดือนเมษายน-พฤษภาคม ปี 2553 นั้นเกิดจากคนเสื้อแดงฆ่ากันเอง เพิ่งจะมาบอกว่าเป็นการกระทำของชายชุดดำ แสดงว่าเป็นตัวละครที่ฝ่ายพรรคประชาธิปัตย์เพิ่งจะสร้างขึ้นมา


รองศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์จุฬาฯกล่าวว่า บทบาทของสังคมโดยเฉพาะฝ่ายที่ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงและวงการสื่อสารมวลชนไม่ได้ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงแต่อย่างใดแต่กลับเชื่อว่าสิ่งที่รัฐบาลสมัยนายอภิสิทธิ์บอกนั้นเป็นเรื่องจริงเมื่อสื่อมวลชนไม่ตรวจสอบก็ทำให้ประชาชนเชื่อหรือเกิดความสับสน


โดยเฉพาะตัวอย่างสำคัญคือผังล้มเจ้าที่ศูนย์อำนวยการแก่้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) เปิดเผยต่อสื่อมวลชนเพื่อใช้เป็นข้ออ้างในการใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุม ลดความน่าเชื่อถือของขบวนการคนเสื้อแดง แล้วตอนนี้ทหารในฝ่าย ศอฉ.เองออกมายอมรับภายหลังว่า ผังล้มเจ้าเป็นเพียงเอกสารชั้นต้นที่ยังไม่มีข้อเท็จจริงแต่อย่างใด แต่สื่อมวลชนก็นำไปเผยแพร่โดยไม่ตรวจสอบข้อเท็จจริงเสียก่อน
 
 
 
ลูก"สมยศ" ย้ำ นศ.ที่สนใจการเมืองต้องไม่ติดภาพ 6 ตุลาฯ 

 
ด้าน  นายปณิธาน กล่าวถึงบทบาทของนิสิตนักศึกษากับการเมืองไทยว่า เหตุการณ์  6 ตุลาคม 2519 เป็นเพราะแนวคิดของนิสิตนักศึกษาได้รับพลังจากสังคมภายนอกด้วย โดยเฉพาะการต่อสู้ของแนวคิดสังคมนิยมและทุนนิยม โดยนิสิตนักศึกษามีแนวคิดแบบสังคมนิยมมากกว่าและเรียกร้องความเท่าเทียมกันของสังคม สนับสนุนขบวนการแรงงานและเกษตรกร   แต่ปัจจุบันนี้นิสิตนักศึกษามีแนวคิดแบบทุนนิยมและอาจสนับสนุนให้เกิดความเหลื่อมล้ำของสังคมเสียด้วยซ้ำดังนั้นภาพของการขับเคลื่อนประชาธิปไตยในปัจจุบันจึงอยู่ที่ประชาชนชนชั้นล่างและชนชั้นกลางระดับล่าง


นักกิจกรรมขบวนการนิสิตนักศึกษา ยังกล่าวถึง นิสิตนักศึกษาที่สนใจการเมืองว่าปัจจุบันจะแบ่งกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่สนใจการเมืองออกเป็น3  ประเภท  คือ1.นิสิตนักศึกษาที่อยู่ในสายวิพากษ์วิจารณ์ 2.นิสิตนักศึกษาที่เป็นนักกิจกรรมขับเคลื่อนทางการเมือง และสุดท้ายนิสิตนักศึกษาที่ต้องการขับเคลื่อนขบวนการนักศึกษาให้เป็นแบบภาพของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519  ซึ่งโดยส่วนตัวคิดว่า กลุ่มนิสิตนักศึกษาที่อยู่ในประเภทที่สามจะมีปัญหาทางความคิดมากที่สุด เพราะยึดติดภาพของอดีตเป็นแนวทางในการขับเคลื่อน โดยไม่ได้สนใจว่าสถานการณ์ทางการเมืองโลกและภายในประเทศเองมีความเปลี่ยนแปลงไป ปัจจุบันผู้ที่มีพลังในการขับเคลื่อนหรือเป็นฝ่ายนำในการเรียกร้องประชาธิปไตยคือประชาชน ไม่ใช่นิสิตนักศึกษาเหมือนในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อีกแล้ว


"เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 และเหตุการณ์เมษายน-พฤษภาคม ปี 2553 มีสิ่งที่สะท้อนเหมือนกันคือ ระบบนิติรัฐและนิติธรรมของประเทศไทยยังไม่สามารถใช้ได้จริงเพราะสองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นว่า รัฐยังไม่สามารถรับประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้ ยังมีการฆ่าประชาชนที่ไม่มีอาวุธ ดังนั้นบทบาทของนิสิตนักศึกษาจะต้องผลักดัน เรียกร้องให้สังคมไทยเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง โดยเข้าร่วมกับประชาชนมากกว่าจะเป็นฝ่ายนำเพราะบทบาทตอนนี้ประชาชนต้องเป็นฝ่ายนำมากกว่า" บุตรชายนายสมยศกล่าว
 
 
นักสังคมนิยมไทย"ชี้พรรคเพื่อไทยใช้นโยบายเอาใจมากกว่าลดความเหลื่อมล้ำ
 
 
นางสาวพัชณีย์ คำหนัก สมาชิกองค์กรเลี้ยวซ้าย ที่ศึกษาแนวคิดสังคมนิยม มหาบัณฑิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าวถึงแนวทางการต่อสู้ของคนเสื้อแดงว่า กลุ่มคนเสื้อแดงต้องมีพรรคการเมืองเป็นของตัวเองเพราะตอนนี้กลุ่มคนเสื้อแดงกำลังไล่ตามกลุ่มนักการเมืองของพรรคเพื่อไทยถูกใช้ประโยชน์เพื่อนักการเมืองมากกว่า


สมาชิกองค์กรเลี้ยวซ้าย กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ ในพรรคเพื่อไทยเองก็มีแนวคิดทางการเมืองที่หลากหลาย ทำให้หลายนโยบายที่สามารถลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไม่สามารถเกิดขึ้นได้จริงเพราะพรรคเพื่อไทยมีสมาชิกพรรคคือกลุ่มนายทุนธุรกิจขนาดใหญ่แล้วนโยบายของพรรคเพื่อไทยที่กำลังดำเนินการอยู่นั้นก็เป็นนโยบายที่ไม่ได้แก้ปัญหาความเหลื่อมล้ำ เป็นนโยบายที่ฉาบฉวย ไม่ได้ปฎิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจเพื่อประชาชน


มหาบัณฑิตคณะรัฐศาสตร์จุฬาฯ กล่าวว่า คนเสื้อแดงจะต้องศึกษาทฤษฎีทางการเมืองเพื่อไม่ตกเป็นเครื่องมือของนักการเมือง ดังนั้นจะต้องมีการปฎิรูประบบเศรษฐกิจให้ชนชั้นล่างและชนชั้นกลางระดับล่างได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม มีพอใช้ในการดำรงชีวิตเพื่อจะได้มีเวลาว่างในการศึกษาทฤษฎีทางการเมือง ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของคนเสื้อแดงต่อไป
ชมคลิป เสวนา 6 ตุลากับทิศทางการเมืองไทย และสัปดาห์รำลึก 36 ปี 6 ตุลา และ 6-10-2012
รูปภาพ
ปาฐกถาพิเศษ ณ หอประชุมศรีบูรพา 6 ตุลา 2519 กับอุดมการณ์คนรุ่นหลัง โดย ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์


http://youtu.be/ZdHo3Quw09s

เสวนา 6 ตุลา กับทิศทางการเมืองไทย 6-10-55/1
ณ หอประชุมศรีบูรพา โดยกรรมการรับข้อมูลสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลา ดร.สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ,ปณิธาน พฤกษาเกษมสุข ,พัชณีย์ คำหนัก ,องค์กรเลี้ยวซ้าย ,
ตัวแทนองค์กรนักศึกษามหาวิทยลัย ธรรมศาสตร์ ดำเนินรายการโดย ใบตองแห้ง


http://youtu.be/YvPQzVSwpZU

เสวนา 6 ตุลา กับทิศทางการเมืองไทย 6-10-55/2 

http://youtu.be/pzxKeK4iDK0

เสวนา 6 ตุลา กับทิศทางการเมืองไทย 6-10-55/3 


http://youtu.be/rloaFsftagg

กิจกรรมละครใบ้ และบทกวี งานสัปดาห์รำลึก 36 ปี 6 ตุลา ประชาธิปไตยประชาชน ณ หอประชุมศรีบูรพา

 
http://youtu.be/xNuYrwbbh3c

งานสัปดาห์รำลึก 36 ปี 6 ตุลา 6-10-55/1

 
http://youtu.be/SsovgSeKsBk

งานสัปดาห์รำลึก 36 ปี 6 ตุลา 6-1 0-55/2



http://youtu.be/jN-MqhBlJOM
......................

วงเสวนา"6 ตุลากับทิศทางการเมืองไทย" ถกเข้มว่าด้วยเรื่อง ภาพติดตา6ตุลาฯ - ชายชุดดำ -เพื่อไทย 

ที่มา:มติชนออนไลน์
http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1349510972&grpid=01&catid&subcatid


"สุธาชัย" ชี้สังคมไทยเชื่อนิยาย "ชายชุดดำ" มากกว่าสำรวจข้อเท็จจริง

นาย สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ รองศาสตรจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าวถึงแนวคิดกลุ่มชายชุดดำที่อยู่ปะปนกับกลุ่มคน เสื้อแดงในวันที่ 10 เมษายน 2553 ว่า สังคมไทยชอบเชื่อสิ่งที่เป็นนิยายคือเรื่องจริง เช่นกรณีชายชุดดำปรากฎตัวครั้งแรกเมื่อวันที่ 10 เมษายน แล้วรัฐบาลสมัยอภิสิทธิ์ก็บอกว่า ชายชุดดำเป็นผู้ก่อเหตุรุนแรงก่อน ปรากฎตัวตามจุดต่าง ๆ ปะปนอยู่กับผู้ชุมนุมเสื้อแดงมากมาย มีบทบาทสำคัญที่สุดในเหตุการณ์ความวุ่นวายช่วงเดือนเมษายน-พฤษภาคม ปี 2553 แต่ไม่พบหลักฐานใด ๆ ที่เห็นชายชุดดำในจุดอื่น ๆ เลย

นอก จากนี้ก่อนที่ฝ่ายพรรคประชาธิปัตย์จะสร้างตัวละครชายชุดดำเป็นผู้สังหาร กลุ่มผู้ชุมนุมเสื้อแดงนายสุเทพเทือกสุบรรณก็เคยบอกว่า การตายของกลุ่มคนเสื้อแดง 91 ศพที่ชุมนุมประท้วงรัฐบาลนายอภิสิทธิ์เมื่อเดือนเมษายน-พฤษภาคม ปี 2553 นั้นเกิดจากคนเสื้อแดงฆ่ากันเอง เพิ่งจะมาบอกว่าเป็นการกระทำของชายชุดดำ แสดงว่าเป็นตัวละครที่ฝ่ายพรรคประชาธิปัตย์เพิ่งจะสร้างขึ้นมา

รอง ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์จุฬาฯกล่าวว่า บทบาทของสังคมโดยเฉพาะฝ่ายที่ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงและวงการสื่อสาร มวลชนไม่ได้ทำหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงแต่อย่างใดแต่กลับเชื่อว่าสิ่งที่ รัฐบาลสมัยนายอภิสิทธิ์บอกนั้นเป็นเรื่องจริงเมื่อสื่อมวลชนไม่ตรวจสอบก็ทำ ให้ประชาชนเชื่อหรือเกิดความสับสน

โดย เฉพาะตัวอย่างสำคัญคือผังล้มเจ้าที่ศูนย์อำนวยการแก่้ไขสถานการณ์ฉุกเฉิน (ศอฉ.) เปิดเผยต่อสื่อมวลชนเพื่อใช้เป็นข้ออ้างในการใช้กำลังเข้าสลายการชุมนุม ลดความน่าเชื่อถือของขบวนการคนเสื้อแดง แล้วตอนนี้ทหารในฝ่าย ศอฉ.เองออกมายอมรับภายหลังว่า ผังล้มเจ้าเป็นเพียงเอกสารชั้นต้นที่ยังไม่มีข้อเท็จจริงแต่อย่างใด แต่สื่อมวลชนก็นำไปเผยแพร่โดยไม่ตรวจสอบข้อเท็จจริงเสียก่อน

ลูก"สมยศ" ย้ำ นศ.ที่สนใจการเมืองต้องไม่ติดภาพ 6 ตุลาฯ 

ด้าน นายปณิธาน กล่าวถึงบทบาทของนิสิตนักศึกษากับการเมืองไทยว่า เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 เป็นเพราะแนวคิดของนิสิตนักศึกษาได้รับพลังจากสังคมภายนอกด้วย โดยเฉพาะการต่อสู้ของแนวคิดสังคมนิยมและทุนนิยม โดยนิสิตนักศึกษามีแนวคิดแบบสังคมนิยมมากกว่าและเรียกร้องความเท่าเทียมกัน ของสังคม สนับสนุนขบวนการแรงงานและเกษตรกร แต่ปัจจุบันนี้นิสิตนักศึกษามีแนวคิดแบบทุนนิยมและอาจสนับสนุนให้เกิดความ เหลื่อมล้ำของสังคมเสียด้วยซ้ำดังนั้นภาพของการขับเคลื่อนประชาธิปไตยใน ปัจจุบันจึงอยู่ที่ประชาชนชนชั้นล่างและชนชั้นกลางระดับล่าง

นัก กิจกรรมขบวนการนิสิตนักศึกษา ยังกล่าวถึง นิสิตนักศึกษาที่สนใจการเมืองว่าปัจจุบันจะแบ่งกลุ่มนิสิตนักศึกษาที่สนใจ การเมืองออกเป็น3 ประเภท คือ1.นิสิตนักศึกษาที่อยู่ในสายวิพากษ์วิจารณ์ 2.นิสิตนักศึกษาที่เป็นนักกิจกรรมขับเคลื่อนทางการเมือง และสุดท้ายนิสิตนักศึกษาที่ต้องการขับเคลื่อนขบวนการนักศึกษาให้เป็นแบบภาพ ของเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 ซึ่งโดยส่วนตัวคิดว่า กลุ่มนิสิตนักศึกษาที่อยู่ในประเภทที่สามจะมีปัญหาทางความคิดมากที่สุด เพราะยึดติดภาพของอดีตเป็นแนวทางในการขับเคลื่อน โดยไม่ได้สนใจว่าสถานการณ์ทางการเมืองโลกและภายในประเทศเองมีความเปลี่ยน แปลงไป ปัจจุบันผู้ที่มีพลังในการขับเคลื่อนหรือเป็นฝ่ายนำในการเรียกร้อง ประชาธิปไตยคือประชาชน ไม่ใช่นิสิตนักศึกษาเหมือนในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อีกแล้ว

"เหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 และเหตุการณ์เมษายน-พฤษภาคม ปี 2553 มีสิ่งที่สะท้อนเหมือนกันคือ ระบบนิติรัฐและนิติธรรมของประเทศไทยยังไม่สามารถใช้ได้จริงเพราะสอง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นว่า รัฐยังไม่สามารถรับประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้ ยังมีการฆ่าประชาชนที่ไม่มีอาวุธ ดังนั้นบทบาทของนิสิตนักศึกษาจะต้องผลักดัน เรียกร้องให้สังคมไทยเป็นประชาธิปไตยอย่างแท้จริง โดยเข้าร่วมกับประชาชนมากกว่าจะเป็นฝ่ายนำเพราะบทบาทตอนนี้ประชาชนต้องเป็น ฝ่ายนำมากกว่า" บุตรชายนายสมยศกล่าว

นักสังคมนิยมไทย"ชี้พรรคเพื่อไทยใช้นโยบายเอาใจมากกว่าลดความเหลื่อมล้ำ

นาง สาวพัชณีย์ คำหนัก สมาชิกองค์กรเลี้ยวซ้าย ที่ศึกษาแนวคิดสังคมนิยม มหาบัณฑิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าวถึงแนวทางการต่อสู้ของคนเสื้อแดงว่า กลุ่มคนเสื้อแดงต้องมีพรรคการเมืองเป็นของตัวเองเพราะตอนนี้กลุ่มคนเสื้อแดง กำลังไล่ตามกลุ่มนักการเมืองของพรรคเพื่อไทยถูกใช้ประโยชน์เพื่อนักการเมือง มากกว่า

สมาชิก องค์กรเลี้ยวซ้าย กล่าวต่อว่า นอกจากนี้ ในพรรคเพื่อไทยเองก็มีแนวคิดทางการเมืองที่หลากหลาย ทำให้หลายนโยบายที่สามารถลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไม่สามารถเกิดขึ้นได้จริง เพราะพรรคเพื่อไทยมีสมาชิกพรรคคือกลุ่มนายทุนธุรกิจขนาดใหญ่แล้วนโยบายของ พรรคเพื่อไทยที่กำลังดำเนินการอยู่นั้นก็เป็นนโยบายที่ไม่ได้แก้ปัญหาความ เหลื่อมล้ำ เป็นนโยบายที่ฉาบฉวย ไม่ได้ปฎิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจเพื่อประชาชน

มหา บัณฑิตคณะรัฐศาสตร์จุฬาฯ กล่าวว่า คนเสื้อแดงจะต้องศึกษาทฤษฎีทางการเมืองเพื่อไม่ตกเป็นเครื่องมือของนักการ เมือง ดังนั้นจะต้องมีการปฎิรูประบบเศรษฐกิจให้ชนชั้นล่างและชนชั้นกลางระดับล่าง ได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม มีพอใช้ในการดำรงชีวิตเพื่อจะได้มีเวลาว่างในการศึกษาทฤษฎีทางการเมือง ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของคนเสื้อแดงต่อไป